word  PDF
COURSE OUTLINE
1.รหัสและชื่อรายวิชา: PRPR554 : TECHNIQUES OF DEMOGRAPHIC ANALYSIS 3(3 -0 -0 )
วจปส๕๕๔ : เทคนิคการวิเคราะห์ทางประชากรศาสตร์ 3(3 -0 -0 )
2. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา : หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคมเป็นรายวิชาในหมวดวิชาบังคับ
3. วัตถุประสงค์ ของรายวิชา
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา :
Tentative Schedule
สัปดาห์ที่ /ครั้งที่ หัวข้อ จำนวนชั่วโมง อาจารย์ผู้สอน
บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษาด้วยตัวเอง
1 ความหมาย ขอบข่าย และเนื้อหาของระเบียบวิธีทางประชากรศาสตร์ แหล่งข้อมูลทางประชากร คุณภาพ และการประเมินคุณภาพข้อมูลประชากร (การสำรวจซ้ำ,การสอบเทียบข้อมูลสองระบบ, การประเมินความคลาดเคลื่อนของเนื้อหาหรือการจำแนกประเภท),จริยธรรมการใช้และนำเสนอข้อมูล 3 0 6  ศ. ดร.ปัทมา  ว่าพัฒนวงศ์
2 แนวคิดพื้นฐาน ตัวชี้วัด และเทคนิคทางประชากรศาสตร์ - จำนวน สัดส่วน อัตราส่วน ร้อยละ อัตรา และความน่าจะเป็น - ระดับ แบบแผน และแนวโน้ม - ประชากรเสี่ยง จำนวนคนปี ประชากรกลางปี - ไดอะแกรมเลกซิส (Lexis diagram) - องค์ประกอบอายุและเพศ - การกระจายตัว - กลุ่มอายุ และรายอายุ 3 0 6  ศ. ดร.ปัทมา  ว่าพัฒนวงศ์
3 โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อช่วยประเมินคุณภาพข้อมูล - อัตราส่วนอายุ (Age ratio) อัตราส่วนเพศ (Sex ratio) ดัชนีความถูกต้องอายุและเพศ (Age-sex accuracy index) - ปิระมิดประชากร - การปรับการแจกแจงอายุให้เรียบ (Smoothing) 3 0 6  ศ. ดร.ปัทมา  ว่าพัฒนวงศ์
4 การวัดภาวะการตาย - อัตราตายอย่างหยาบ (Crude Death Rate: CDR) - อัตราตายรายอายุ (Age Specific Death Rates: ASDRs) - อัตราทารกตาย (Infant Mortality Rate: IMR) - อัตราตายเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี (Under five mortality rate: U5M) - อัตราส่วนมารดาตาย (Maternal Mortality Ratio: MMR) - อัตราตายปรับฐานอายุทางตรง (Direct age standardized death rate) 3 0 6 -
5 การวัดภาวะการตาย (ต่อ) - อัตราตายปรับฐานอายุทางอ้อม (Indirect age standardized death rate) - การวิเคราะห์แยกองค์ประกอบอัตราตายอย่างหยาบ (Decomposition of crude death rate) 3 0 6 -
6 ตารางชีพ - ความหมายและลักษณะของตารางชีพ - ฟังก์ชันต่าง ๆ ในตารางชีพ - ขั้นตอนการสร้างตารางชีพ 3 0 6 -
7 ตารางชีพ (ต่อ) - ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปสร้างตารางชีพ - การใช้ตารางชีพในการวิเคราะห์ประชากร 3 0 6 -
8 สอบกลางภาค 0 0 0 -
9 การวัดภาวะเจริญพันธุ์ - แหล่งข้อมูล - อัตราเกิดอย่างหยาบ (Crude birth rate: CBR) - อัตราเจริญพันธุ์ทั่วไป (General fertility rate: GFR) - อัตราเจริญพันธุ์รายอายุ (Age specific fertility rates: ASFRs) - อัตราเจริญพันธุ์รายอายุเฉพาะสตรีที่สมรส (Age specific married fertility rates: ASMFR) - อัตราเจริญพันธุ์รวม (Total fertility rate: TFR) - อัตราเกิดทดแทนรวม (Gross reproductive rate: GRR) - อัตราเกิดทดแทนสุทธิ (Net reproductive rate: NRR) 3 0 6  ศ. ดร.ปัทมา  ว่าพัฒนวงศ์
10 การวัดภาวะเจริญพันธุ์ (ต่อ) - อัตราส่วนเด็กต่อสตรี(Child-women ratio) - บุตรเกิดรอด (Children ever born-CEB) 3 0 6  ศ. ดร.ปัทมา  ว่าพัฒนวงศ์
11 การวัดภาวะสมรส - อัตราสมรส - อัตราหย่าร้าง - อายุเฉลี่ยเป็นโสดเมื่อแรกสมรส (Singulate mean age at marriage: SMAM) 3 0 6  ศ. ดร.ปัทมา  ว่าพัฒนวงศ์
12 ความเป็นเมืองและการกระจายตัวประชากร - การวัดระดับความเป็นเมือง และการเปลี่ยนแปลงระดับความเป็นเมือง - ตัวชี้วัดต่าง ๆ เกี่ยวกับการกระจายตัวประชากร - เมืองเอกนคร 3 0 6 -
13 การย้ายถิ่น - แนวคิดและนิยาม - แหล่งข้อมูล - ตัวชี้วัดการย้ายถิ่น (กระแสย้ายถิ่น, อัตราย้ายถิ่น ,Migration Tempo, การประมาณการย้ายถิ่นภายในประเทศและระหว่างประเทศ) 3 0 6 -
15 การประมาณและการฉายภาพประชากร - วิธีการทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic method) - วิธีส่วนประกอบรุ่น (Cohort component method) 3 0 6  ศ. ดร.ปัทมา  ว่าพัฒนวงศ์
16 การประมาณและการฉายภาพประชากร (ต่อ) - การใช้โปรแกรมแผ่นงาน และโปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อช่วยฉายภาพประชากร 3 0 6  ศ. ดร.ปัทมา  ว่าพัฒนวงศ์
17 สอบปลายภาคเทคนิคฯ 3 0 6 -