word  PDF
COURSE OUTLINE
1.รหัสและชื่อรายวิชา: SHPE631 : SCIENTIFIC INQUIRY AND RESEARCH PROCESS 3(3 -0 -0 )
สมปศ๖๓๑ : กระบวนการแสวงหาความรู้ด้วยการวิจัย 3(3 -0 -0 )
2. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนเป็นรายวิชาในหมวดวิชาบังคับ
3. วัตถุประสงค์ ของรายวิชา
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา :
Tentative Schedule
สัปดาห์ที่ /ครั้งที่ หัวข้อ จำนวนชั่วโมง อาจารย์ผู้สอน
บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษาด้วยตัวเอง
1 ๑.แนะนำรายวิชา ๒.วิธีการเรียนการสอนและวิธีการประเมินผล ๓.ความหมายและธรรมชาติของความรู้ ๔.แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความรู้ 3 - ู6  รศ.ดร.ประภาพรรณ  อุ่นอบ
2 ๑.วิธีการสร้างความรู้ ( เช่น ยึดลัทธิเดิม หลักความสงสัย หลักวิจารณ์นิยม หลักวิภาษวิธี) ๒.ปรัชญาและกระบวนทัศน์ในการแสวงหาความรู้ ๓.ความแตกต่างของกระบวนทัศน์การแสวงหาความรู้ (ทั้งด้านภววิทยา ญาณวิทยาและวิธีวิทยา) 3 - 6 -
3 ๑.ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางสังคม ๑.๑ลักษณะธรรมชาติของปรากฏการณ์ทางสังคม ๑.๒การ “เกิดขึ้น” ของปรากฏการณ์ทางสังคม ๑.๓ วงจรชีวิต (life cycle) ของปรากฏการณ์ทางสังคม ๒.หลักการและวิธีการตั้งคำถามหรือโจทย์การวิจัย 3 - 6  รศ.ดร.ประภาพรรณ  อุ่นอบ , ผศ.ดร.ธีรเดช  ฉายอรุณ
4 แนวทางการทบทวนวรรณกรรม (วัตถุประสงค์ของการทบทวนวรรณกรรม ประเภทของการทบทวนวรรณกรรม ขั้นตอนการทบทวนวรรณกรรม) 3 - 6  รศ.ดร.ประภาพรรณ  อุ่นอบ
5 ๑. มโนทัศน์เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย (ความหมาย ประเภทของการวิจัย และพัฒนาการของการวิจัย) ๒. ปรัชญา หลักการและแนวคิดพื้นฐานของการวิจัย 3 - 6  รศ.ดร.ประภาพรรณ  อุ่นอบ
6 ๑. แบบการวิจัยเชิงปริมาณที่สำคัญๆ ๑.๑วิธีวิทยาและการออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (๑) (ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง) 3 - 6  รศ.ดร.ประภาพรรณ  อุ่นอบ
7 ๑.๒ วิธีวิทยาและการออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (๒) ( การสร้างและพัฒนาเครื่องมือและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล) 3 - 6  รศ.ดร.ประภาพรรณ  อุ่นอบ
8 ๑.๓ วิธีวิทยาและการออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (๓) (สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล) - 3 6 -
9 ๑.๔ วิธีวิทยาและการออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (๔) (การตีความผลการวิจัย การสร้างข้อเสนอแนะการวิจัย และการเขียนรายงานการวิจัยเชิงปริมาณ) 3 - 6  รศ.ดร.ประภาพรรณ  อุ่นอบ
10 วิธีวิทยาและการออกแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ (๑) (ทฤษฎี การออกแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ รูปแบบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ) 3 - 6 -
11 วิธีวิทยาและการออกแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ (๒) (วิธีการเก็บข้อมูล และการตรวจสอบคุณภาพข้อมูล) 3 - 6  รศ.ดร.ประภาพรรณ  อุ่นอบ
12 วีธีวิทยาและการออกแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ (๓) (การวิเคราะห์ข้อมูล การตีความผลการวิจัย และการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของผลการวิเคราะห์) - 3 6  รศ.ดร.ประภาพรรณ  อุ่นอบ
13 ๑.จริยธรรมในการวิจัย (จรรยาบรรณของนักวิจัย จริยธรรมการวิจัยในคน) ๒.การลอกเลียนวรรณกรรม ๓.การเมืองในการวิจัย 3 - 6  รศ.ดร.ประภาพรรณ  อุ่นอบ
14 นำเสนอรายงานโครงร่างการวิจัยด้านการพัฒนาคุณภาพประชากร 3 - 6  รศ.ดร.ประภาพรรณ  อุ่นอบ
15 นำเสนอการวิเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพประชากร 3 - 6  รศ.ดร.ประภาพรรณ  อุ่นอบ
16 สอบปลายภาค - - -  รศ.ดร.ประภาพรรณ  อุ่นอบ