word  PDF
COURSE OUTLINE
1.รหัสและชื่อรายวิชา: SCBI574 : IMMUNOLOGICAL PARASITOLOGY 3(3 -0 -0 )
วทชว๕๗๔ : วิทยาภูมิคุ้มกันทางปรสิตวิทยา 3(3 -0 -0 )
2. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา (หลักสูตรนานาชาติ)เป็นรายวิชาในหมวดวิชาเลือก
3. วัตถุประสงค์ ของรายวิชา
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา :
Tentative Schedule
สัปดาห์ที่ /ครั้งที่ หัวข้อ จำนวนชั่วโมง อาจารย์ผู้สอน
บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษาด้วยตัวเอง
1 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างโฮสต์และปรสิตความสำคัญของโรคปรสิต 3 - 6  ผศ.ดร.สุพีชา  คุ้มเกตุ
2 สถานการณ์และภาวะความรุนแรงในการติดเชื้อโรค โพรโทซัว 3 - 6  ผศ.ดร.สุพีชา  คุ้มเกตุ
3 สถานการณ์และภาวะความรุนแรงในการติดเชื้อโรคพยาธิ 3 - 6  ผศ.ดร.สุพีชา  คุ้มเกตุ
4 ชีววิทยาของโพรโทซัวสำคัญ 3 - 6  ผศ.ดร.สุพีชา  คุ้มเกตุ
5 พยาธิสภาพและพยาธิกำเนิดของโรคที่เกิดจากโพรโทซัว 3 - 6  ผศ.ดร.สุพีชา  คุ้มเกตุ
6 การตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อ โพรโทซัว กลไกการหลบเลี่ยงระบบภูมิคุ้มกันของโฮสต์ 3 - 6  ผศ.ดร.สุพีชา  คุ้มเกตุ
7 การนำเสนองานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3 - 6  ผศ.ดร.สุพีชา  คุ้มเกตุ
8 การพัฒนาวัคซีนป้องกันโรคที่เกิดจากโพรโทซัว 3 - 6  ผศ.ดร.สุพีชา  คุ้มเกตุ
9 การสอบกลางภาค 3 - -  ผศ.ดร.สุพีชา  คุ้มเกตุ
10 ชีววิทยาของพยาธิตัวตืด พยาธิใบไม้ และพยาธิ ตัวกลม 3 - 6  ผศ.ดร.สุพีชา  คุ้มเกตุ
11 พยาธิสภาพและพยาธิกำเนิดของโรคที่เกิดจากพยาธิ 3 - 6  ผศ.ดร.สุพีชา  คุ้มเกตุ
12 การตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อ 3 - 6  ผศ.ดร.สุพีชา  คุ้มเกตุ
13 กลไกการหลบเลี่ยงระบบภูมิคุ้มกันของโฮสต์ 3 - 6  ผศ.ดร.สุพีชา  คุ้มเกตุ
14 การนำเสนองานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3 - 6  ผศ.ดร.สุพีชา  คุ้มเกตุ
15 การพัฒนาวัคซีนป้องกันโรคที่เกิดจากพยาธิ 3 - 6  ผศ.ดร.สุพีชา  คุ้มเกตุ
16 การสอบปลายภาค 3 - -  ผศ.ดร.สุพีชา  คุ้มเกตุ